วันพุธที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

THE SANITY WE ARE BORN WITH A BUDDHIST APPROACH TO PSYCHOLOGY

เราต่างมีพุทธะในตัวเอง เชอเกียม ตรุงปะ

ความมีเหตุผลที่เราเกิดมาพร้อมกับวิธีการทางพุทธศาสนา ของ chogyam trungpa
ความมีสติที่เกิดขึ้นกับแนวทางของพุทธศาสนากับ chogyam trungpa เป็นองค์แรกที่นำเสนอกับพุทธศาสนิกชนในภาษาทางจิตวิทยาที่พูดตรงไปที่ใจว่ามีปริมาณความต้องการอย่างจำนวนมาก
การมีสติถ้าหากว่าเขาไม่เกี่ยวข้องกับตัวเขาอย่างจริงจังเชื่อว่าพลังที่ยิ่งใหญ่กว่าตัวเราเองย้อนคืนมากได้
และเชื่อว่าพลังที่ยิ่งใหญ่กว่าตัวเราเองสามารถทำให้เรามีความสุขได้ ได้รับในขั้นตอน  สติเราเกิดมาพร้อมกับพุทธ buddhist  จิตวิทยา chogyam trungpa
สิบสองขั้นตอนขั้นตอนที่สอง เชื่อว่าพลังงานที่ใหญ่กว่าตัวเราสามารถเรียกคืนเรามีสติ? ตอนที่พวกเขาอ่านขั้นตอนที่สองความเข้าใจใหม่ที่เราได้รับในขั้นตอนที่หนึ่งไปสู่บทเรียนการกู้คืน เรามาเชื่อว่าพลังที่ยิ่งใหญ่กว่าตัวเราเองสามารถฟื้นฟูเราให้มีสติเราใช้เวลาสี่สัปดาห์ในหลักการ รอ 1  นาที?

การ "ยอมรับตัวเอง" ซึ่งเป็นหัวใจของทั้งพุทธธรรมและจิตวิทยาตะวันตก การยอมรับตัวเองนอกจากจะทำให้หัวใจเปิดกว้างและอ่อนโยนกับสิ่งที่ตัวเองเป็นในทุกๆ ด้านแล้ว ยังสะท้อนถึงสิ่งที่ เชอเกียม ตรุงปะ เรียกว่า basic goodness หรือ "ความดีพื้นฐาน" --- ธรรมชาติพื้นฐานอันดำรงอยู่แล้วในตัวคนทุกคน
ความดีพื้นฐานคือสภาวะจิตอันเป็นปกตินี่เองที่ทำให้ทุกประสบการณ์ ทุกอารมณ์ ทุกผู้คน ทุกปรากฏการณ์ที่ผ่านเข้ามา มีคุณค่าและความหมายในตัวมันเอง และนั่นเองคือการแสดงตนของ "พุทธะ" ในฐานะประสบการณ์อันรุ่มรวยมีชีวิต หาใช่อำนาจอันสถิตอยู่ภายนอกตัว 
″...การมีชีวิตอยู่นั้นช่างน่ามหัศจรรย์และล้ำค่า เราไม่รู้หรอกว่าจะมีชีวิตอยู่นานเพียงไร ดังนั้นในขณะที่เรามีชีวิต เหตุใดจึงไม่ใช้มันล่ะ? แต่ก่อนที่เราจะใช้มัน ไฉนเราจึงไม่ชื่นชมยินดีกับมันล่ะ″
″เราต่างมีพุทธะในตัวเอง″ เน้นย้ำถึงการกลับมาสู่ธรรมชาติอันเป็นพื้นฐานที่มีอยู่ในตัวคนทุกคน เป็นสภาวะความเป็นปกติพื้นฐานอันเป็นรากฐานของการสัมพันธ์กับตัวเองและผู้อื่น

"เมื่อพุทธศาสนาพบจิตวิทยาตะวันตก......" ทั้งจิตวิทยาตะวันตกและพุทธศาสนาต่างมีหนทางเฉพาะในการทำงานกับจิต เมื่อฝึกฝนอย่างมีทักษะจิตบำบัดสามารถช่วยปลดปล่อยสิ่งที่เก็บงำ หลบซ่อนอำพรางในใจให้เผยตัวออกมาสู่แสงสว่างเราจึงสามารถมองทะลุผ่านมันและเอาใจใส่ดูมันในพื้นที่ที่เปิดกว้างและอ่อนโยนได้ การภาวนานำเราไปทำความเข้าใจธรรมชาติของจิตใจที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น ในตอนเริ่มต้นเราอาจมองว่าเรามีจิตหรือเราเป็นจิต ทว่าว่าสักพักอาจจะเริ่มตระหนักว่าเราไม่ได้ถูกกำจัดแค่โดยความคิดหรือความรู้สึกเท่านั้น.....เราเริ่มตระหนักถึงพื้นที่รอบๆ ตัวเรา จะดีกว่าหากกล่าวว่า เราเป็นพื้นที่อันนั้น ส่วนความคิดและความรู้สึกเกิดขึ้นในฐานะแขกผู้มาเยือน พื้นที่คือปัญญาญาณในตัวมันเอง เราสามารถผ่อนคลายในความว่างอันมีชีวิตชีวาได้ และนี่คือเส้นทางทั้งหมด ...เราสามารถผ่อนคลายและพังทลายสู่ความปกติพื้นฐานของเราได้ เชอเกียม ตรุงปะ เป็นธรรมะจารย์ชาวพุทธคนแรกที่นำคำสอนพุทธศาสนาในภาษาจิตวิทยาสื่อสารตรงไปยังจิตแบบตะวันตก งานชิ้นนี้รวมเองมุมมองแบบพุทธและแบบจิตวิทยาตะวันตกเข้าไว้ด้วยกันซึ่งน่าสนใจอย่างยิ่งต่อนักจิตบำบัด ผู้ศึกษาธรรมะ และผู้ที่สนใจความสัมพันธ์ระหว่างดวงอาทิตย์แห่งปัญญาญาณการตื่นรู้ที่อยู่ในตัวเรากับเมฆหมอกทางจิตวิทยาซึ่งบดบังแสงของมัน จิตวิทยาแนวพุทธบอกว่าเราทุกคนต่างเกิดมาด้วยสภาวะปกติพื้นฐาน ซึ่ง เชอเกียม ตรุงปะ  เรียกมันว่า "ความดีพื้นฐาน" หนังสือเล่มนี้พูดถึงการช่วยตัวเราและผู้อื่นให้สัมผัสกับพื้นแห่งความเป็นปกติและสุขภาวะนั้นในตนเอง ตรุงปะนำเสนอความเข้าใจที่เกี่ยวข้องกับการภาวนา จิต และจิตวิทยาซึ่งท่านได้แบ่งปันกับนักวิทยา นักจิตบำบัด และศิษย์ของท่านในสหรัฐอเมริการะหว่างช่วงทศวรรษ๑๙๗๐ และ ๑๙๘๐ โดยพื้นฐานแล้ว หนังสือเล่มนี้เกี่ยวข้องกับหนทางที่เราทุกคนฝึกฝนความเป็นมนุษย์อันเป็นปกติให้แข็งแรงขึ้น ขณะเดียวกันก็ก็ให้ความเข้าใจแก่ความต้องการอันเฉพาะเจาะจงของผู้คนที่ตกอยู่ในความทุกข์ทางจิตด้วย นอกจากนั้นงานชิ้นนี้ยังสื่อสารโดยตรงต่อคำถามของนักจิตบำบัดและนักวิชาชีพด้านสุขภาพจิต รวมถึงผู้ฟังโดยทั่วไปที่สนใจนำเอาจิตวิทยาและการภาวนาแนวพุทธไปใช้ในการปฏิสัมพันธ์กับผู้คนในความสัมพันธ์แห่งการเยียวยา

  •  Buddhist concepts of mind, ego, and intelligence, and how these ideas can be employed in working on oneself and with others 
   •  meditation as a way of training the mind and cultivating mindfulness 
   •  nurturing our intrinsic health and basic sanity 
   •  guidance for psychotherapists and health professionals



ไม่มีความคิดเห็น: